ค่าเฉลี่ยฮาโมนิค (Hamonic Mean) เป็นค่าเฉลี่ยที่หาได้จากสูตร

วิธีการคำนวณหาค่า HM
1. แปลงข้อมูลแบบ= 1/x (Recipocal transformation)
2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ(
)
3. กลับเศษเป็นส่วนของค่าเฉลี่ย (1/) จะได้ค่า HM
ตัวอย่าง ถ้าขับรถยนต์จากกรุงเพทฯ-ไปจังหวัดสระบุรีด้วยความเร็ว 60 กม./ชม. และขับกลับด้วยความเร็ว 40 กม./ชม. จงหาความเร็วเฉลี่ย
จากสูตร HM = 2(1/60+1/40) = 48 กม./ชม.
ตัวอย่าง สินค้าชนิดหนึ่งมีหลายราคาได้แก่ 50 60 70 80 100 65 42 บาท โดยผู้ขายต้องการนำสินค้าเหล่านี้ปนกันโดยใช้เงินลงทุนสินค้าเหล่านี้แต่ละราคาเท่ากัน จงหาราคาสินค้าเฉลี่ย
1. แปลงข้อมูลได้ดังนี้
2.หาค่าเฉลี่ยของข้อมูลดังกล่าว
= 0.02 0.016667 0.014286 0.0125 0.01 0.01585 0.02381
() = 0.016092
HM = (1/) 1/0.016092) = 62.14129 บาท
คุณสมบัติของ HM
1. ข้อมูลไม่มีเลข 0
2. พิจารณาข้อมูลปริมาณในเชิงยอดรวมต้องเท่ากัน
เป็นค่าที่แบ่งข้อมูลเชิงปริมาณออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน นิยมใช้กันมากสำหรับข้อมูลที่มีการกระจายในรูปของ Free Distribution โดยใช้ค่าของ Percentile ที่ 50 (P50)
ตัวอย่าง
ข้อมูล 1 5 6 7 8 9 10 (เรียงค่าจากน้อยไปมาก) ค่ามัธยฐาน
เป็นค่าที่ได้จากค่าที่มีความถี่มากที่สุด แต่ในบางชุดของข้อมูลอาจจะมีค่าฐานนิยมมากกว่า 1 ค่า หรืออาจจะไม่มีฐานนิยมก็ได้
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ข้อมูล 1 2 3 4 5 ความถี่ 5 10 15 8 7 ฐานนิยมคือ 3
ตัวอย่าง
ข้อมูล 1 2 3 4 5 ความถี่ 5 10 8 10 2ฐานนิยมคือ 2 และ 4
ข้อมูล 1 2 3 4 5 ความถี่ 5 5 5 5 5ไม่มีฐานนิยม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น